Header Ads

 


แถลงข่าวนโยบาย ธ.ก.ส. เร่งให้ความช่วยเหลือเกษตรกรเพื่อบรรเทาภาวะทางการเงินของลูกหนี้ นครสวรรค์

นายเจริญชัย กสิสุวรรณ ผู้อำนวยการสำนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดนครสวรรค์ เปิดเผยว่า การดำเนินงานในไตรมาสที่ 3 ปีบัญชี 2565 ของสำนักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดนครสวรรค์ ที่สำคัญ มี มาตรการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรลูกค้าเพื่อช่วยเหลือและบรรเทาภาระทางการเงินของลูกหนี้ จากผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สงครามการค้า ภัยธรรมชาติ และสงครามรัสเชีย-ยูเครน จูงใจให้ลูกหนี้ที่ยังคงมีศักยภาพ มีความสามารถในการชำระหนี้ได้ดีขึ้น ช่วยเหลือลูกหนี้และลดภาระในการชำระหนี้ โดยลดภาระการจ่ายชำระดอกเบี้ยบางส่วนให้แก่ลูกหนี้ของธนาคารที่มีปัญหาการชำระหนี้เนื่องจากเหตุสุจริตและจำเป็น และช่วยเหลือแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระให้เหมาะสมกับศักยภาพการประกอบอาชีพและรายได้ของลูกหนี้ในภาวะปัจจุบัน และฟื้นฟูศักยภาพการชำระหนี้ของลูกหนี้ จูงใจให้ลูกหนี้มีกาลังใจชำระหนี้ธนาคารได้เสร็จสิ้นโดยเร็ว และสามารถดำเนินการบริหารจัดการหนี้อย่างยั่งยืนได้ภายในปีบัญชี 2565​โดยจัดโครงการชำระดีมีคืน และโครงการชำระดีมีคืนพลัส ปีบัญชี 2565เกษตรกรและบุคคล กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การ นิติบุคคล และกองทุนหมู่บ้านที่ขึ้นทะเบียนตามข้อบังคับของธนาคารยกเว้น สหกรณ์นอกภาคการเกษตร และองค์กร ที่มีสัญญาต้นเงินกู้หรือสัญญาที่มีดอกเบี้ยถึงกำหนดชำระคงเหลือในแต่ละไตรมาสของปีบัญชี 2565 และมีสถานะหนี้ปกติ ธนาคารกำหนดกรอบวงเงินงบประมาณ ไม่เกิน 3,000 ล้านบาท แบ่งเป็น ดังนี้คือ โครงการชำระดีมีคืน ปีบัญชี 2565 กำหนดระยะเวลาดำเนินโครงการ ตั้งแต่วันที่1 มิถุนายน 2565 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2566 จะต้องเป็นมีสัญญาต้นเงินกู้หรือสัญญาที่มีดอกเบี้ยถึงกำหนดชำระคงเหลือในแต่ละไตรมาสของปีบัญชี 2565 และมีสถานะหนี้ปกติ แบ่งเป็น ดังนี้1. เกษตรกรและบุคคล คืนดอกเบี้ยเงินผู้ในอัตราร้อยละ 20 ของดอกเบี้ยที่ชำระจริง (ไม่รวมดอกเบี้ยที่เรียกเพิ่มและค่าธรรมเนียม) สะสมไม่เกิน ร้ายละ 1,000 บาท2. กลุ่มบุคคล กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ นิติบุคคล กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองคืนดอกเบี้ยเงินกู้ ในอัตราร้อยละ 10 ของดอกเบี้ยที่ชำระจริง โยกรณีกลุ่มบุคคลนิติบุคคล กองทุนหมู่บ้านและชุมขนเมือง สะสมไม่เกินรายละ 3,000 บาท กรณีกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์สะสมไม่เกินรายละ10,000 บาท โดยแบ่งงบประมาณเป็นรายไตรมาส ดังนี้ไตรมาส 1 งบประมาณ 500 ล้านบาท (25%)ไตรมาส 2 งบประมาณ 300 ล้านบาท (15%)ไตรมาส 3 งบประมาณ 400 ล้านบาท (20%)ไตรมาส 4 งบประมาณ 800 ล้านบาท (40%6)โดยธนาคารจะทำการโอนเข้าบัญชีเงินฝากของลูกค้า โดยคืนดอกเบี้ยให้แก่ลูกค้าที่ชำระดอกเบี้ยได้ภายในไตรมาสที่มีหนี้ถึงกำหนดชำระ หรือในไตรมาสถัดไปเฉพาะในกรณีไม่สามารถชำระได้ทันกำหนดชำระในไตรมาสรงการชำระดีมีนพลัส ปีบัญชี 2565 กำหนดระยะเวลาดำเนินโครงกาวันที่ 1 กันยายน 2565 ถึงวันที 31 ธันวาคม 2565 จะต้องเป็นมีสัญญาต้นเงินกู้หรือสัญญาที่มีดอกเบี้ยถึงกำหนดชำระคงเหลือของปีบัญชี 2565เกษตรกรและบุคคล ที่สามารถชำระดอกเบี้ยได้ระหว่างวันที่ 1 กันยายน 2565 ถึงวันที่31 ธันวาคม 2565 จะคืนดอกเบี้ยเงินกู้ในอัตราร้อยละ 20 ของดอกเบี้ยที่ชำระจริง (ไม่รวมดอกเบี้ยที่เรียกเพิ่มและค่าธรรมเนียม) สะสมไม่เกิน ร้ายละ 2,000 บาท โดยธนาคารจะทำการโอนเข้าบัญชีเงินฝากของ1.2 การบริหารจัดการคุณภาพหนี้ตามมาตรการเร่งด่วนและมาตรการระยะสั้นสำหรับลูกหนี้NPL ปีบัญชี 25651.2.1 มาตรการทางด่วนลดหนี้ ปีบัญชี 2565เป็นลูกหนี้ตามข้อบังคับของธนาคาร ทุกข้อบังคับ ที่ถูกดำเนินคดีหรือยังไม่ดำเนินคดี ไม่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ และหรือไม่เป็นบุคคลล้มละลายยกเว้น ผู้ซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดธนาคารไม่อนุญาตให้เข้าร่วมโครงการฯ ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2565 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม2565 ซึ่งมีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการลดดอกเบี้ย ดังนี้1. ลูกหนี้ที่มีสถานะหนี้ NPL ณ วันที่ 31 มีนาคม 2565 เมื่อชำระหนี้เสร็จสิ้นเป็นรายสัญญาลดดอกเบี้ยร้อยละ 50 ของดอกเบี้ยนอกบัญชี2. ลูกหนี้ที่มีสถานะหนี้ NPL ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2565 เมื่อซำระหนี้เสร็จสิ้นเป็นรายสัญญาลดดอกเบี้ยร้อยละ 30 ของดอกเบี้ยนอกบัญชี1.2.2 มาตรการจ่ายน้อย ผ่อนคลาย ได้ลดดอกเบี้ย ปีบัญชี 2565ลูกหนี้เกษตรกร บุคคล ตามข้อบังคับของธนาคาร ที่ผ่านการวิเคราะห์ศักยภาพกลุ่มลูกค้าสินเชื่อของธนาคาร (รายคน) และได้แสดงความประสงค์ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ด้วยความสมัครใจ ให้ความร่วมมือแก้ไขปัญหา และเปิดเผยข้อมูลที่เป็นความจริงแก่ธนาคาร มีความซื่อสัตย์สุจริต ตั้งใจ และยินยอมปฏิบัติตามเงื่อนไข ของธนาคาร โดยลูกหนี้ต้องชำระต้นเงินก่อนโอนปรับปรงโครงสร้างหนี้ ตั้งแต่ร้อยละ 1ของตันเงินที่นำมาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ให้สาขาดำเนินการปรับปรุงโครงสร้างหนี้โดยการขยายระยะเวลาการชำหนี้ สูงสุดไม่เกิน 20 ปี ธนาคารคิดอัตราดอกเบี้ย MRR (ปัจจุบัน MRR = 6.50 บาท/1) เมื่อชำระบัญชีรวมต้นเงินเสร็จสิ้น และชำระบัญชีรวมดอกเบี้ยได้ร้อยละ 50 ให้ลดหนี้บัญชีรวมดอกเบี้ย ไม่เกินร้อยละ 50 ระยะเวลาดำเนินการตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2565 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 25651.3 โครงการลดดอกเบี้ยแก้หนี้ภากครัวเรือน ปีบัญขี 2565มีระยะเวลาดำเนินงานตามโครงการตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566 โดยธนาคารมีการช่วยเหลือด้วยการลดดอกเบี้ยมากน้อยตามการชำระหนี้ของลูกค้า ดังนี้กรณีเกษตรกร และบุคคลชำระหนี้เสร็จสิ้นเป็นรายสัญญาอัตราการลดดอกเบี้ยไม่เกิน 50%ชำระดอกเบี้ยได้เสร็จสิ้นอัตราการลดดอกเบี้ย30%ชำระดอกเบี้ยได้บางส่วนอัตราการลดดอกเบี้ย20%กรณีกลุ่มบุคคล กลุ่มเกษตรกร กองทุนหมู่บ้านฯ สหกรณ์ นิติบุคคลอัตราการลดดอกเบี้ยไม่เกิน 50%ชำระหนี้เสร็จสิ้นเป็นรายสัญญาชำระดอกเบี้ยได้เสร็จสิ้นหรือบางส่วน อัตราการลดดอกเบี้ย10%1.4 โครงการการบริหารจัดการคุณภาพหนี้อย่างยั่งยืนธนาคารได้กำหนดแนวทาง การบริหารจัดการคุณภาพหนี้อย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นการให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ที่เป็นเป้าหมายแท้จริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เหมาะกับสภาวการณ์ปัจจุบันที่ลูกหนี้ได้รับผลกระทบรุนแรง และมีความไม่แน่นอนสูง โดยใช้เครื่องมือบริหารจัดการหนี้ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม สอดคล้องกับศักยภาพ และความสามารถในการชำระหนี้ของลูกหนี้ โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับปัญหาของลูกค้าแต่ละราย ตามแนวทางของ ธนาคารแห่งประเทศไทย โดยการขยายระยะเวลาการชำหนี้ สูงสุดไม่เกิน 20 ปี กำหนดอัตราดอกเบี้ยตามเงื่อนไขของธนาคาร ระยะเวลาดำเนินงานตามโครงการในเฟสที่ 1 ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2565 ซึ่ง สนจ.นครสวรรค์ มีผลดำเนินการในปีบัญชี 2565 ในการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรลูกค้า ธ.ก.ส. ดังนี้การปรับปรุงโครงสร้างหนี้ยั่งยืน (ณ วันที่ 30 กันยายน 2565)กรณี NON-NPLSผลดำเนินงาน 236 สัญญา เป็นต้นเงิน 150.02 ล้านบาทกรณี NPLsผลดำเนินงาน 316 สัญญา เป็นต้นเงิน 107.22 ล้านบาทรวม 552 สัญญา เป็นต้นเงิน 257.24 ล้านบาท1.5 การช่วยเหลือลูกค้าตามมาตรการตัดชำระหนี้ตามสัดสวน (ง่ายคอก ตัดต้น)ะทางอ้อมที่มีต้นเงินกู้คงเหลืออยู่กับธนาคารและเป็นไปตามเงื่อนไขของมาตรการ ยกเว้นสัญญาที่ลูกค้าผู้ด้รับผลกระทบจากกรแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทั้รการที่ธนาคารกำหนดดยให้ลูกค้าแสดงความประสงค์ขอเข้าร่วมมาตรการ โตถุประสงค์เพื่อขอลดภาระหนี้ หรือเพื่อขอเลื่อนงวดกำหนดชำระ เป็นการเฉพาะกิจตั้งกันยายน 2565 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2566 และให้เป็นไปตามเงื่อนไข ดังนี้1. กรณีลูกค้าประสงค์ชำระหนี้เพื่อขอลดภาระหนี้ต้องเป็นสัญญาที่มีสถานะหนี้เป็นปกติ หรือหนี้ถึงกำหนดชำระในปีบัญชี 2565 กำหนดสัดส่วนการตัดชำระหนี้ของจำนวนเงินที่ลูกค้าประสงค์จะชำระหนี้ โดยแบ่งเป็นดอกเบี้ยร้อยละ 50 และเป็นต้นเงินร้อยละ 502. กรณีลูกค้าประสงค์ชำระหนี้เพื่อขอเลื่อนงวดกำหนดชำระลูกค้าต้องนำเงินมาชำระไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของดอกเบี้ยค้างรับในสัญญา ณ วันที่ชำระ โดยกำหนดสัดส่วนการตัดชำระหนี้ของจำนวนเงินที่ลูกค้าประสงค์จะชำระหนี้โดยแบ่งเป็นดอกเบี้ยร้อยละ 50 และอีกร้อยละ 50 ให้นำมาตัดชำระต้นเงินจึงจะสามารถเลื่อนงวดกำหนดชำระได้ไม่เกิน 12เดือน นับจากงวดกำหนดชำระเดิมทั้งนี้ สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดตามมาตรการช่วยเหลือต่างๆ เพิ่มเติม หรือแสดงความประสงค์รับมาตรการช่วยเหลือได้ที่ ธ.ก.ส. สาขาที่เป็นลูกค้า2. มาตรการช่วยเหลือเกษตรลูกค้าผู้ประสบภัยธรรมชาติหรือภัยพิบัติ2.1 ธ.ก.ส. สาขาในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์ มอบถุงยังชีพให้ผู้ประสบภัยน้ำท่วมตามที่ได้เกิดสถานการณ์ภัยธรรมชาติ (อุทกภัย) จากพายุโนรู เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2565 ในเขตการดำเนินงานของสำนักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดนครสวรรค์ ส่งผลกระทบทำให้เกิดความเสียหายด้านการเกษตร ตลอดจนทรัพย์สินที่อยู่อาศัยของลูกค้า นั้น ธ.ก.ส. สาขาในพื้นที่ ได้ลงพื้นที่สำรวจความเสียหายจากภัยพิบัติดังกล่าวซึ่งสำนักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดนครสวรรค์ ได้ให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยทั้งกรณีฉุกเฉินเร่งด่วนและกรณีให้การช่วยเหลือฟื้นฟูภายหลังประสบภัย ดังนี้1.มอบถุงยังชีพให้กับพี่น้องเกษตรกร ในพื้นที่อำเมืองนครสวรรค์ อำเภอท่าตะโก อำเภอไพศาลี และอำเภอชุมแสง รวมจำนวน 1,030 ชุด2. มอบน้ำดื่มให้กับผู้ประสบภัยธรรมชาติ (อุทกภัย) อำเภอเมืองนครสวรรค์ และอำเภอชุมแสง รวมจำนวน 10,000 ขวด2.2 โครงการสินเชื่อเพื่อช่วยเหลือเกษตรถูลูกค้าผู้ประสบภัยธรรมชาติหรือภัยพิบัติเพื่อเป็นการให้ความช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนแก่เกษตรกรลูกค้า #ใด้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติหรือภัยพิบัติให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ำ เพื่อนำไปใช้สร้างหรือซ่อมแซมที่อยู่อาศัย โรงเรือนการเกษตร เครื่องมือเครื่องจักรทางการเกษตร รวมถึงการฟื้นฟูการผลิตที่ได้รับความเสียหายจากภัยธรรมชาติหรือภัยพิบัติ และลดปัญหาการก่อหนี้นอกระบบ สำหรับเกษตรกรลูกค้า ธ.ก.ส. หรือเกษตรกรทั่วไปที่ได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติหรือภัยพิบัติ และอยู่ในเขตประกาศพื้นที่ประสบภัยของผู้ว่าราชการจังหวัด จำนวน 2 โครงการ ดังนี้2.2.1 โครงการสินเชื่อเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายกเฉินสำหรับเกษตรกรผู้ประสบภัยธรรมชาติหรือภัยพิบัติปี 2565/66วัตถุประสงค์เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายฉุกเฉินรายละ ไม่เกิน 50,000 บาท ชำระหนี้คืนเสร็จไม่เกิน3 ปี นับแต่วันกู้ คิดดอกเบี้ยเงินกู้ในอัตรา เดือนที่ 1 -6 ร้อยละ 0 ต่อปีเดือนที่ 7 เป็นต้นไป คิดอัตราดอกเบี้ย MRR (MRR เท่ากับร้อยละ 6.50 ต่อปี) เริ่มตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2566 หรือจนกว่าจะเต็มวงเงินให้สินเชื่อจำนวน 10,000 ล้านบาท ใช้หลักประกันหนี้เงินกู้ตามข้อบังคับและวิธีปฏิบัติปกติของธนาคาร2.2.2 โครงการสินเชื่อฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับเกษตรกรลูกค้าผู้ประสบภัยธรรมชาติหรือภัยพิบัติวัตถุประสงค์เพื่อเป็นค่าลงทุนในการฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพชีวิต รายละ ไม่เกิน500,000 บาท ชำระหนี้คืนเสร็จไม่เกิน 15 ปี นับแต่วันกู้ คิดดอกเบี้ยเงินกู้ในอัตรา คิดอัตราดอกเบี้ยMRR 2 (MRR เท่ากับร้อยละ 6.50 ต่อปี) เริ่มตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป หรือจนกว่าจะเต็มวงเงินให้สินเชื่อจำนวน 10,000 ล้านบาท ใช้หลักประกันหนี้งินกู้ตามข้อบังคับและวิธีปฏิบัติปกติของธนาคาร💕💕ต้อย​ รอบ​รั้ว​ภูธร​0619782952​💕💕
ขับเคลื่อนโดย Blogger.